รูปแบบความเสียหายในจังหวัดเชียงราย – ศูนย์ข้อมูลแผ่นดินไหวไทย

ความเสียหายที่เกิดจากแผ่นดินไหว และแนวทางการเสริมกำลัง ในหัวข้อนี้ได้แสดงรูปแบบความเสียหายที่เกิดขึ้นเนื่องจากแผ่นดินไหวที่เชีนงรายเมื่อวันที่ 12 มิ.ย.2557 และแผ่นดินไหวครั้งสำคัญๆของโลก เพื่อเป็นการศึกษาความเสียหายที่เกิดจากแผ่นดินไหว และแนวทางการเสริมกำลังที่เหมาะสม ความเสียหายจากแผ่นดินไหวขนาด 3 ริกเตอร์ ในจังหวัดเชียงราย จากการลงพื้นที่เพื่อสำรวจความเสียหาย อาคารพักอาศัย อาคารพาณิชย์ วัด และสะพานลอย ในเขต อ.พาน และ อ.แม่ลาว จ. เชียงราย เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ภายหลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์ ศูนย์กลางที่ ต. ทรายขาว อ.พาน อยู่ลึกลงไปใต้ดินประมาณ 6 กม. เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าว เป็นแผ่นดินไหวในประเทศไทยที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่สอง รองจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ จ.น่าน เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 ที่มีขนาด 6.5 ตามมาตราริกเตอร์ … Read more

จุดประสงค์ – ศูนย์ข้อมูลแผ่นดินไหวไทย

จุดประสงค์ของการจัดตั้ง ศูนย์ข้อมูลทางด้านแผ่นดินไหวแห่งประเทศไทย (TEIC) มีดังต่อไปนี้ เพื่อเป็นการนำความรู้รวมถึงผลงานวิจัยที่ได้ศึกษาภายใต้ทุนที่ได้รับจาก สกว. ออกมาใช้งานอย่างเป็นประโยชน์ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย และเข้าถึงโดยสะดวก เพื่อเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับแผ่นดินไหวต่อประชาชน วิศวกร รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย เพื่อให้ประชาชนได้ทราบความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวต่างๆของ สกว. เพื่อให้ประชาชนได้ติดตาม และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้

คณะผู้ก่อตั้ง – ศูนย์ข้อมูลแผ่นดินไหวไทย

คณะผู้ก่อตั้ง ศูนย์ข้อมูลทางด้านแผ่นดินไหวแห่งประเทศไทย (TEIC) ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นบุคลากรที่เข้าร่วมโครงการของ สกว. มาเป็นเป็นเวลานาน มีดังต่อไปนี้ หัวหน้าโครงการ สถานที่ทำงาน ตำแหน่ง ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ศ.ดร.อมร พิมานมาศ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เลขาธิการสภาวิศวกร กรรมการอำนวยการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ฯ วุฒิวิศวกรโยธา นักวิจัยโครงการ สถานที่ทำงาน ตำแหน่ง ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผศ.ดร.ปรีดา ไชยมหาวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย พะเยา หัวหน้าหน่วยบริการการทดสอบและผลิต งานมาตรฐาน- วิศวกรรมโยธา คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ภาคีวิศวกรโยธา นักวิจัยโครงการ สถานที่ทำงาน ตำแหน่ง ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ดร.ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนากายภาพ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สามัญวิศวกรโยธา

ลักษณะโครงสร้างที่เสี่ยง – ศูนย์ข้อมูลแผ่นดินไหวไทย

ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างเนื่องจากความไม่ต่อเนื่องทางกายภาพหรือรูปทรงของโครงสร้าง สามารถจำแนกได้เป็น 2 แบบคือ (1) ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวดิ่ง (Vertical Structural Irregularities) และ (2) ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวราบ (Plan Structural Irregularities) 1.5.1   ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวดิ่ง (Vertical Structural Irregularities) ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวดิ่งสามารถจำแนกออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ ความไม่สม่ำเสมอของสติฟเนส (Stiffness irregularity) หรือชั้นที่อ่อน (Soft story) โดย ชั้นที่อ่อนหมายถึง ชั้นที่มีสติฟเนสทางข้าง (Lateral Stiffness) มีค่าน้อยกว่าร้อยละ 70 ของชั้นที่เหนือถัดขึ้นไปหรือน้อยกว่าร้อยละ 80… การพิจารณาอาคารว่ามีลักษณะสม่ำเสมอตามกฎหมายควบคุมอาคารว่าด้วยการก่อสร้างอาคารในเขตที่อาจเกิดแผ่นดินไหวหรือไม่ ให้ใช้หลักเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้ 1.4.1           บริเวณที่ 1 อาคารในบริเวณที่ 1 จะถือว่ามีลักษณะไม่สม่ำเสมอหากมีความไม่ต่อเนื่องทางกายภาพหรือรูปทรงของโครงสร้างเป็นไปตามนี้ (1) อาคารที่มีประเภทกิจกรรมการใช้อาคารดังนี้ อาคารที่จำเป็นต่อความเป็นอยู่ของสาธารณชน เช่น สถานพยาบาลที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน สถานีดับเพลิง อาคารศูนย์บรรเทาสาธารณภัย … Read more

สำหรับประชาชน – ศูนย์ข้อมูลแผ่นดินไหวไทย

ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างเนื่องจากความไม่ต่อเนื่องทางกายภาพหรือรูปทรงของโครงสร้าง สามารถจำแนกได้เป็น 2 แบบคือ (1) ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวดิ่ง (Vertical Structural Irregularities) และ (2) ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวราบ (Plan Structural Irregularities) 1.5.1   ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวดิ่ง (Vertical Structural Irregularities) ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวดิ่งสามารถจำแนกออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ ความไม่สม่ำเสมอของสติฟเนส (Stiffness irregularity) หรือชั้นที่อ่อน (Soft story) โดย ชั้นที่อ่อนหมายถึง ชั้นที่มีสติฟเนสทางข้าง (Lateral Stiffness) มีค่าน้อยกว่าร้อยละ 70 ของชั้นที่เหนือถัดขึ้นไปหรือน้อยกว่าร้อยละ 80… การพิจารณาอาคารว่ามีลักษณะสม่ำเสมอตามกฎหมายควบคุมอาคารว่าด้วยการก่อสร้างอาคารในเขตที่อาจเกิดแผ่นดินไหวหรือไม่ ให้ใช้หลักเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้ 1.4.1           บริเวณที่ 1 อาคารในบริเวณที่ 1 จะถือว่ามีลักษณะไม่สม่ำเสมอหากมีความไม่ต่อเนื่องทางกายภาพหรือรูปทรงของโครงสร้างเป็นไปตามนี้ (1) อาคารที่มีประเภทกิจกรรมการใช้อาคารดังนี้ อาคารที่จำเป็นต่อความเป็นอยู่ของสาธารณชน เช่น สถานพยาบาลที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน สถานีดับเพลิง อาคารศูนย์บรรเทาสาธารณภัย … Read more

admin – ศูนย์ข้อมูลแผ่นดินไหวไทย

ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างเนื่องจากความไม่ต่อเนื่องทางกายภาพหรือรูปทรงของโครงสร้าง สามารถจำแนกได้เป็น 2 แบบคือ (1) ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวดิ่ง (Vertical Structural Irregularities) และ (2) ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวราบ (Plan Structural Irregularities) 1.5.1   ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวดิ่ง (Vertical Structural Irregularities) ความไม่สม่ำเสมอของโครงสร้างในแนวดิ่งสามารถจำแนกออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ ความไม่สม่ำเสมอของสติฟเนส (Stiffness irregularity) หรือชั้นที่อ่อน (Soft story) โดย ชั้นที่อ่อนหมายถึง ชั้นที่มีสติฟเนสทางข้าง (Lateral Stiffness) มีค่าน้อยกว่าร้อยละ 70 ของชั้นที่เหนือถัดขึ้นไปหรือน้อยกว่าร้อยละ 80… การพิจารณาอาคารว่ามีลักษณะสม่ำเสมอตามกฎหมายควบคุมอาคารว่าด้วยการก่อสร้างอาคารในเขตที่อาจเกิดแผ่นดินไหวหรือไม่ ให้ใช้หลักเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้ 1.4.1           บริเวณที่ 1 อาคารในบริเวณที่ 1 จะถือว่ามีลักษณะไม่สม่ำเสมอหากมีความไม่ต่อเนื่องทางกายภาพหรือรูปทรงของโครงสร้างเป็นไปตามนี้ (1) อาคารที่มีประเภทกิจกรรมการใช้อาคารดังนี้ อาคารที่จำเป็นต่อความเป็นอยู่ของสาธารณชน เช่น สถานพยาบาลที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน สถานีดับเพลิง อาคารศูนย์บรรเทาสาธารณภัย … Read more