ขั้นตอนการเสริมกำลังโครงสร้าง
การเสริมกำลังมีหลายวิธี แต่วิธีที่จะแนะนำในหัวข้อนี้ประกอบด้วย 8 วิธี ซึ่งแบ่งไปตามแต่ละประเภทขององค์อาคารนั้นคือ กรณีของเสา จะใช้ (ก) หุ้มด้วยแผ่นเหล็ก (ข) หุ้มด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก และ (ค) หุ้มด้วยแผ่นคาร์บอนไฟเบอร์ กรณีของคาน จะใช้ (ง) วิธีเฟอโรซีเมนต์ (จ) วิธีแผ่นเหล็ก และ (ฉ) วิธีคาร์บอนไฟเบอร์ กรณีของแผงเสา-คาน นั่นคือ (ช) เสริมค้ำยันทแยง และกรณีของจุดต่อเสา-คาน นั่นคือ (ซ) เสริมบ่าคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยแต่ละวิธีมีขั้นตอนเบื้องต้นดังนี้
1.การเสริมกำลังเสาอาคารด้วยวิธีพันหุ้มด้วยแผ่นเหล็ก
- ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน
- สกัดผิวปูนฉาบออก
- ทำผิวคอนกรีตให้หยาบ
รูปที่ 1-1 ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน | รูปที่ 1-2 สกัดผิวปูนฉาบออก | รูปที่ 1-3 ทำผิวคอนกรีตให้หยาบ |
- วัดขนาดและตัดเหล็ก
- เตรียมอุปกรณ์ในการทาสีกันสนิม
- ทาสีกันสนิม
รูปที่ 1-4 วัดขนาดและตัดเหล็ก | รูปที่ 1-5 เตรียมอุปกรณ์ในการทาสีกันสนิม | รูปที่ 1-6 ทาสีกันสนิม |
- ประกอบทำเป็นโครงคร่าวแล้วเชื่อม
- เอาเหล็กค้ำยันออกและติดตัวช่วยเข้าแบบ
- เข้าแบบเชื่อมและเอาตัวเชื่อมเข้าแบบออก
รูปที่ 1-7 ประกอบทำเป็นโครงคร่าวแล้วเชื่อม | รูปที่ 1-8 เอาเหล็กค้ำยันออกและติดตัวช่วยเข้าแบบ | รูปที่ 1-9 เข้าแบบเชื่อมและเอาตัวเชื่อมเข้าแบบออก |
- เชื่อมปิดรอยต่อมุมเสา
- เจียรมุมเสาให้เรียบ
- ทาสีมุมเสาปิดรอยเชื่อม
รูปที่ 1-10 เชื่อมปิดรอยต่อมุมเสา | รูปที่ 1-11 เจียรมุมเสาให้เรียบ | รูปที่ 1-12 ทาสีมุมเสาปิดรอยเชื่อม |
- ค้ำยันแบบเพื่อให้แบบแน่น
- ทำการผสมปูน Non-shrink
- การเทปูน Non-shrink
รูปที่ 1-13 ค้ำยันแบบเพื่อให้แบบแน่น | รูปที่ 1-14 ทำการผสมปูน Non-shrink | รูปที่ 1-15 การเทปูน Non-shrink |
- การแกะที่ค้ำยันออกและเจียรแผ่นเหล็กให้เรียบ
- ทาสีกันสนิมตรงที่เจียร
- แต่งมุมเสา
- ทาสีจริงและตกแต่ง
รูปที่ 1-16 การแกะที่ค้ำยันออกและเจียรแผ่นเหล็กให้เรียบ | รูปที่ 1-17 ทาสีกันสนิทตรงที่เจียร | รูปที่ 1-18 แต่งมุมเสา |
รูปที่ 1-19 ทาสีจริงและตกแต่ง |
2.การเสริมกำลังเสาอาคารด้วยวิธีหุ้มด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก
- ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน
- การสกัดผิวปูนฉาบออก
- ทำผิวคอนกรีตให้หยาบ
รูปที่ 2-1 การล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน | รูปที่ 2-2 การสกัดผิวปูนฉาบออก | รูปที่ 2-3 ทำผิวคอนกรีตให้หยาบ |
- การเตรียมเหล็กแกนและเหล็กปลอก
- วัดขนาดเพื่อเว้นระยะห่างของเหล็กปลอก
- ติดตั้งเหล็กแกนและเหล็กปลอกเข้ากับเสา
รูปที่ 2-4 การเตรียมเหล็กแกนและเหล็กปลอก | รูปที่ 2-5 วัดขนาดเพื่อเว้นระยะห่างของเหล็กปลอก | รูปที่ 2-6 ติดตั้งเหล็กแกนและเหล็กปลอกเข้ากับเสา |
- เจาะรูตามเสาเพื่อยึดเหล็กโครงสร้างกับเสา
- วัดขนาดและตัดไม้แบบ
- ประกอบแบบและเข้าแบบ
รูปที่ 2-7 เจาะรูตามเสาเพื่อยึดเหล็กโครงสร้าง | รูปที่ 2-8 วัดขนาดและตัดไม้ | รูปที่ 2-9 ประกอบแบบและเข้าแบบ |
- ค้ำยันไม้แบบและยึดให้แน่น
- การผสมปูน Non-shrink
- การรดน้ำยาประสานคอนกรีต
รูปที่ 2-10 ค้ำยันไม้แบบและยึดให้แน่น | รูปที่ 2-11 การผสมปูน | รูปที่ 2-12 การรดน้ำยาประสานคอนกรีต |
- การเทปูน Non-shrink
- แกะแบบและที่ค้ำยันออก
- แต่งมุมเสาและบ่มคอนกรีต
รูปที่ 2-13 การเทปูน | รูปที่ 2-14 แกะแบบและค้ำยันออก | รูปที่ 2-15 แต่งมุมเสา |
- ทาสีรองพื้น
- ตกแต่งผิว
- ทาสีจริงและตกแต่ง
รูปที่ 2-16 ทาสีรองพื้น | รูปที่ 2-17 ตกแต่งผิว | รูปที่ 2-18 ทาสีจริง |
3.การเสริมกำลังคานด้วยวิธีเฟอโรซีเมนต์
- ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน
- ตั้งนั่งร้าน
- สกัดผิวปูนฉาบ
รูปที่ 3-1 ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน | รูปที่ 3-2 ตั้งนั้งร้าน | รูปที่ 3-3 สกัดผิวปูนฉาบ |
- ทำผิวคอนกรีตให้หยาบ
- วัดขนาดและเจาะรูตามคาน
- การเตรียมเหล็กเดือย
รูปที่ 3-4 ทำผิวคอนกรีตให้หยาบ | รูปที่ 3-5 วัดขนาดและเจาะรูตามคาน | รูปที่ 3-6 การเตรียมเหล็กเดือย |
- ผสมน้ำยาประสานคอนกรีตแล้วใส่ไว้ที่ปลายของเหล็กเดือย
- ใส่เหล็กเดือยเข้ากับคานและลวดกรงไก่
รูปที่ 3-7 ผสมน้ำยาแระสานคอนกรีตแล้วใส่ไว้ที่ปลายของเหล็กเดือย | รูปที่ 3-8 ใส่เหล็กเดือยเข้ากับคาน |
- การเตรียมปูนและผสมปูน
- การสลัดน้ำยาประสาน
รูปที่ 3-9 การเตรียมปูนและผสมปูน | รูปที่ 3-10 การสลัดน้ำยาประสาน |
- การฉาบปูนซีเมนต์
- บ่มคอนกรีต
รูปที่ 3-11 การฉาบปูน | รูปที่ 3-12 บ่มคอนกรีต |
รูปที่ 3-13 ทาสีรองพื้น | รูปที่ 3-14 ทาสีจริง |
4.การเสริมกำลังเสาอาคารด้วยวิธีพันหุ้มด้วยแผ่นคาร์บอนไฟเบอร์
- ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน
- ตั้งนั้งร้าน
| |
รูปที่ 4-1 ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน | รูปที่ 4-2 ตั้งนั้งร้าน |
- มาร์กตำแหน่งและสกัดบริเวณเสริมกำลัง
- ลบมุมเสาและเจียผิวให้เรียบ
| |
รูปที่ 4-3 มาร์กตำแหน่งและสกัดบริเวณเสริมกำลัง | รูปที่ 4-4 ลบมุมเสาเจียผิวให้เรียบ |
- ทา Primer
- ทา Primer ผสมผงเบาและสารเพิ่มความหนืด
รูปที่ 4-5 ทา Primer | รูปที่ 4-6 ทา Primer ผสมผงเบาและสารเพิ่มความหนืด |
- แต่งผิว
- ทา Epoxy และปิดแผ่น CFRP
รูปที่ 4-7 แต่งผิว | รูปที่ 4-8 ทา Epoxy และปิดแผ่น CFRP |
- โรยทรายก่อนฉาบปิด
- จับเซี้ยมและฉาบผิว
- ทาสี
| |
รูปที่ 4-9 โรยทรายก่อนฉาบปิด | รูปที่ 4-10 จับเซี้ยมและฉาบผิว |
รูปที่ 4-11 ทาสี |
5.การเสริมกำลังคานด้วยวิธีแผ่นเหล็ก
- ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน
- ตั้งนั้งร้าน
รูปที่ 5-1 ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน | รูปที่ 5-2 ตั้งนั้งร้าน |
- สกัดผิวบริเวณเสริมกำลัง
- เจียผิวให้เรียบ
- ทา Primer
รูปที่ 5-3 สกัดผิวบริเวณเสริมกำลัง | รูปที่ 5-4 เจียผิวให้เรียบ | รูปที่ 5-5 ทา Primer |
- ทา Primer ผสมผงเบา และสารเพิ่มความหนืด
- วัดระยะและขนาดของแผ่นเหล็ก
| |
รูปที่ 5 -6 ทา Primer ผสมผงเบาและสารเพิ่มความหนืด | รูปที่ 5-7 วัดระยะ ขนาดของแผ่นเหล็ก |
- เจาะรูแผ่นเหล็กตามระยะ เจียขอบและรูของแผ่นเหล็กแล้วทากันสนิม
- วัดและเจาะรูของคาน
| |
รูปที่ 5-8 เจาะรูแผ่นเหล็ก | รูปที่ 5-9 วัดและเจาะรูของคาน |
- ติดตั้งแผ่นเหล็ก
- เตรียมผิวก่อนฉาบ
รูปที่ 5-10 ติดตั้งแผ่นเหล็ก | รูปที่ 5-11 เตรียมผิวก่อนฉาบ |
| |
รูปที่ 5-12 จับเซี้ยมและฉาบผิว | รูปที่ 5-13 ทาสี |
6.การเสริมกำลังคานด้วยแผ่นคาร์บอนไฟเบอร์
- ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน
- ตั้งนั้งร้าน
รูปที่ 6-1 ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน | รูปที่ 6-2 ตั้งนั้งร้าน |
- มาร์กตำแหน่งและสกัดบริเวณเสริมกำลัง
- ลบมุมคานและเจียผิวให้เรียบ
| |
รูปที่ 6-3 มาร์กตำแหน่งและสกัดบริเวณเสริมกำลัง | รูปที่ 6-4 ลบมุมคานและเจียผิวให้เรียบ |
- ทา Primer
- ทาPrimer ผสมผงเบา และสารเพิ่มความหนืด
| |
รูปที่ 6-5 ทา Primer | รูปที่ 6-6 ทา primer ผสมผงเบา และสารเพิ่มความหนืด |
- ทา Epoxy และปิดแผ่น CFRP strip ท้องคาน
- ทา Epoxy และปิดแผ่น CFRP sheet โอบรัดคาน
รูปที่ 6-7 ทา Epoxy และปิดแผ่น CFRP strip ท้องคาน | รูปที่ 6-8 ทา Epoxy และปิดแผ่น CFRP Sheet โอบรัดคาน |
- โรยทรายเตรียวผิวสำหรับฉาบปิด
- จับเซี้ยมและฉาบปิด
- ทาสี
รูปที่ 6-9 โรยทรายเตรียมผิวสำหรับฉาบปิด | รูปที่ 6-10 จับเซี้ยมและฉาบปิด |
รูปที่ 6-11 ทาสี |
7.การเสริมค้ำยันทแยงเพื่อต้านแผ่นดินไหว
- ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน
- ตั้งนั้งร้าน
- มาร์กตำแหน่งและสกัดบริเวณเสริมกำลัง
รูปที่ 7-1 ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน | รูปที่ 7-2 ตั้งนั้งร้าน | รูปที่ 7-3มาร์กตำแหน่งและสกัดบริเวณเสริมกำลัง |
- เจียผิวให้เรียบ
- ทา Primer
- ทา Primer ผสมผงเบา และสารเพิ่มความหนืด
รูปที่ 7-4 เจียผิวให้เรียบ | รูปที่ 7-5 ทา primer | รูปที่ 7-6 ทา Primer ผสมผงเบาและสารเพิ่มความหนืด |
- วัดระยะและเจาะรูเพลทเหล็ก
- เจียขอบและรูเจาะ ทาสีกันสนิมของเพลทเหล็ก และเหล็กbracing
รูปที่ 7-7 วัดระยะและเจาะรูเพลทเหล็ก | รูปที่ 7-8 เจียขอบและรูเจาะทาสีกันสนิมของเพลทเหล็กและ bracing |
- เจาะรูใส่ Stud+Plate
- วัดระยะเหล็ก bracing ,ตัดให้ได้ตามแบบ,เจียผิว
| |
รูปที่ 7-9 เจาะรูใส่ Stud + Plate | รูปที่ 7-10 วัดระยะเหล็ก bracing,ตัดให้ได้ตามแบบ,เจียผิว |
- ติดตั้งเหล็ก Bracing
- วัดระยะตัดPlate และติดตั้ง Plate เหล็ก
- ทาสี
รูปที่ 7-11 ติดตั้งเหล็ก Bracing | รูปที่ 7-12 วัดระยะ Plate ติดตั้ง Plate เหล็ก |
| |
รูปที่ 7-13 ทาสี |
8.การเสริมกำลังข้อต่อคานเสาด้วยบ่าคอนกรีตเสริมเหล็ก
- ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติ
- ตั้งนั้งร้าน
| |
รูปที่8-1 ล้อมพื้นที่ในการปฏิบัติงาน | รูปที่8-2 ตั้งนั้งร้าน |
- มาร์กตำแหน่งและสกัดบริเวณเสริมกำลัง
- วัดตำแหน่งรูเจาะแล้วเจาะรูทั้งหมด
| |
รูปที่8-3 มาร์กตำแหน่งและสกัดบริเวณเสริมกำลัง | รูปที่8-4 วัดตำแหน่งรูเจาะแล้วเจาะรูทั้งหมด |
| |
รูปที่8-6 ทา Epoxy | รูปที่8-6 วัดระยะ ตัดเหล็ก |
- ตั้งแบบ เทปูน Non-shrink
- ทาสี
| |
รูปที่ 8-7 ตั้งแบบเทปูน | รูปที่ 8-8 ทาสี |