กติกามวยที่คอมวยต้องรู้ รู้ก่อนแทงให้ได้กำไรจริง

กติกามวยที่คอมวยต้องรู้ รู้ก่อนแทงให้ได้กำไรจริง

มวยเป็นเกมกีฬาชนิดหนึ่งที่มีความสนุก เร้าใจ ทำให้มีคนที่ชื่นชอบกีฬามวยจำนวนมาก ซึ่งในแต่ละประเทศก็จะมีการพัฒนากีฬามวยของตัวเอง โดยเฉพาะประเทศไทย ที่มีมวยไทยเป็นสมบัติประจำชาติมาตั้งแต่สมัยโบราณ และการพัฒนามวยของแต่ละประเทศ จะมีการกำหนดกฎเกณฑ์หรือกติกาสำหรับการแข่งขันเอาไว้ เพื่อให้ง่ายและสะดวกในการตัดสินแพ้ชนะ ซึ่งเป็นสิ่งที่นักแทงมวยทุกคนจะต้องเรียนรู้วิธีการแทงมวย และศึกษากติกามวยแต่ละประเภทให้ดี ก่อนที่จะตัดสินใจแทงมวย เพราะจะทำให้ดูออกว่าแทงอย่างไรจะชนะและจะได้กำไรสูงขึ้น เมื่อมีความมั่นใจว่ารู้กติกาดีแล้ว รวมทั้งมีเทคนิคและวิธีการที่ดีในการแทงมวยออนไลน์แล้ว ก็เดินตามวิธีการของตนเองได้เลย

กติกามวยประเภทต่างๆ ที่ผู้แทงต้องรู้

กติกามวยประเภทต่างๆ มีความเฉพาะของแต่ละประเภท ดังนั้นนักแทงมวยจะต้องเรียนรู้และทำความรู้จักกับกติกามวยเหล่านั้นก่อนการแทงมวยทุกครั้ง ซึ่งมีกติกามวยหลายประเภท ดังนี้

กติกาของมวยไทย

การแต่งกายและกรรมการมวยไทย

กติกามวยไทยเหมือนกับกติกาของมวยประเภทอื่นๆ ที่มีการพัฒนาให้มีความเหมาะสมกับยุคสมัยและความเป็นจริงมากขึ้น โดยมีการกำหนดให้ครอบคลุมในทุกเรื่อง เช่น การสวมนวมขนาด 4 ออนซ์ สวมกางเกงขาสั้น มีการสมกระจับป้องกันการกระแทก ส่วนปลอกรัดข้อเท้านั้นจะสวมหรือไม่ก็ได้ สำหรับนักมวยไทยที่มีความเชื่อเรื่องเครื่องรางของขลัง สามารถผูกไว้ที่แขนท่อนบนก็ได้ ส่วนเครื่องรางอื่นๆ สามารถใส่ได้กระทั่งไหว้ครูจบ แล้วให้ถอดออกเมื่อจะเริ่มการแข่งขัน และบนเวทีมีกรรมการสำหรับชี้ขาดการแข่งขัน 1 คน และมีกรรมการให้คะแนนข้างเวทีอีก 2 คน

จำนวนยกและเวลาในการแข่งขัน

จำนวนยกในการแข่งขันมวยไทยมีทั้งหมด 5 ยก ยกละ 3 นาที และมีการพักระหว่างยก 2 นาที การแข่งขันมีการแบ่งออกเป็นรุ่นต่างๆ ตามน้ำหนักตัวของนักมวย ซึ่งเหมือนกับมวยสากล แต่สามารถใช้อวัยวะส่วนต่างๆ ในการต่อสู้มากกว่า เช่น หมัด เท้า เข้า ศอก เข้าชก ในการเตะถีบ ถอง เป็นต้น โดยสามารถต่อสู้เข้าไปที่ร่างกายของคู่ต่อสู้โดยไม่จำกัดที่ชก แต่ก็มีท่าที่ต้องห้ามเนื่องจากกอันตราย เช่น ท่าหลักเพชร เพราะเป็นท่าจับขาแล้วหักด้วยการนั่งทับ อาจจะเป็นอันตรายกับนักมวยได้

รุ่นในการแข่งขันของมวยไทย

มวยไทยมีทั้งหมด 19 รุ่น เรียงตามน้ำหนักจากน้อยไปหามาก สามารถยกตัวอย่างการแข่งขัน ดังนี้

  • รุ่นพินเวท น้ำหนักต้องเกิน 93 ปอนด์ หรือ 42.272 กิโลกรัม และไม่เกิน 100 ปอนด์ หรือ45.454 กิโลกรัม
  • รุ่นมินิฟลายเวท น้ำหนักต้องเกิน 100 ปอนด์ หรือ 45.454 กิโลกรัม และไม่เกิน 105 ปอนด์ หรือ 47.727 กิโลกรัม
  • รุ่นไลท์ฟลายเวท น้ำหนักตัวต้องเกิน 105 ปอนด์ หรือ 47.727 กิโลกรัม และไม่เกิน 108 ปอนด์ หรือ 48.988 กิโลกรัม

            นอกจากนั้นยังมีรุ่นที่น้ำหนักสูงขึ้นไปอีกเรื่อยๆ  ได้แก่ รุ่นฟลายเวท รุ่นซูเปอร์ฟลายเวท รุ่นแบนตั้มเวท  รุ่นซูเปอร์แบนตั้มเวท รุ่นเฟเธอร์เวท ฯลฯ และมีรุ่นที่น้ำหนักสูงมากที่สุด คือ รุ่นซูเปอร์เฮฟวี่เวท น้ำหนักตัว    ต้องเกิน 200 ปอนด์ขึ้นไป หรือ 90.900 กิโลกรัมขึ้นไป

กติการของมวยสากล

กติกาของมวยสากลมีความคล้ายกับกติกาของมวยไทย แต่มีข้อแตกต่างกันอยู่หลายอย่าง ดังนี้

การชกและระยะเวลาการชก

กติกาการชกแบ่งเป็น 5 ยก มีเวลา 5 นาที เพื่อทำคะแนนให้ได้มากกว่าคู่ต่อสู้ และเมื่อสู้กระทั่งครบ 5 ยกแล้วจะมีการรวมคะแนน กรณีที่ภายใน 1 ยก สามารถล้มคู่ต่อสู้ได้ไม่ให้สามารถชกต่อได้อีกในยกต่อไป ถือว่าเป็นฝ่ายชนะน็อค โดยมีกรรมการชี้ขาดจำนวน 3 คน ซึ่งกรรมการแต่ละคนจะให้เป็นคะแนนเต็ม 10 หรือ 9 โดยนักชกชายที่สามารถชกครบ 3 ยก จะได้คะแนนเต็ม 30 คะแนน ส่วนนักชกหญิงชกครบ 4 ยก ได้ 40 คะแนน และกรณีที่กรณีที่มีกรรมการให้คะแนนเป็นชนะ 1 คน เสมอ 2 ต้องไปพิจารณาคะแนนกรรมการที่ให้เสมอ เฉพาะใน 2 ยกหลัง ว่านักมวยคนใดอึดกว่าจะเป็นผู้ชนะ

สังเวียนหรือสนามมวย

โดยทั่วไปแล้วจะเป็นสนามกีฬาในร่ม หรืออาจจะเป็นเวทีมวยชั่วคราวอาจจะอยู่ภายนอกได้ โดยมาตรฐานของสนามมวยสากล เป็น สังเวียนรู้สี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดเล็กด้านละ 6.10 เมตร ขนาดใหญ่ด้านละ 7.30 เมตร พื้นสูงไม่น้อยกว่า 3 เมตรแต่ไม่เกิน 4 เมตร เชือกกั้น 4 เส้นหุ้มด้วยวัสดุอ่อนนุ่มผูกระยะห่างเท่าๆ กัน พื้นเวทีต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง ปูด้วยสักหลาดหรือยางวัสดุที่เหมาะสมยืดหยุ่นได้ หน้า 1 นิ้วครึ่ง และยื่นออกจากเชือกอย่างน้อย 20 นิ้ว ฯลฯ

3. กติกามวยแข่ง

กติกามวยแข่ง มีหลายอย่างที่นักมวยต้องทำอย่างเคร่งครัด ดังต่อไปนี้

  1. การแต่งกายสวมกางเกงขาสั้นเพียงครึ่งโคนขา สีแดง หรือน้ำเงิน ตามมุมของตนเอง ต้องสวมเสื้อไม่มีแขน สีเสื้อเป็นสีเดียวกับกางเกง ไม่สวมรองเท้า เล็บเท้าต้องตัดสั้นห้ามใช้เข็มขัดหรือสิ่งที่เป็นโลหะ เช่น สร้อยคอ ฯลฯ
  2. ต้องสวมกระจับที่ทำขึ้นจากวัสดุที่แข็งแรง ทนทาน เพื่อไม่ให้อวัยวะเพศเกิดอันตราย
  3. ผู้แข่งขันต้องโกนนวดเคราให้สะอาดเรียบร้อย
  4. ห้ามใช้น้ำมัน วาสลิน ไข หรือสมุนไพรทาร่างกายหรือนวม เป็นต้น

กติกาของกีฬามวยที่ยกตัวอย่างมานั้น เป็นเพียงส่วนเล็กน้อยที่ผู้แทงมวยจะต้องรู้ และต้องมีการศึกษาข้อมูลให้รอบด้าน เกี่ยวกับกติกาเรื่องต่างๆ เพื่อให้สามารถตัดสินใจและดูให้ได้ ว่าในระหว่างการแข่งขันตนเองมีโอกาสจะชนะมากเพียงใด เมื่อดูกติกาได้มีสูตรแทงมวยและวิธีการที่ดี การแทงมวยแล้วได้กำไรมากก็อยู่ไม่ไกล